สวิทชิ่งอเนกประสงค์ซึ่งเรารู้จักกันดีและนิยมเรียกว่า สวิทชิ่งจีนเพราะส่วนใหญ่แล้วนำเข้ามาจากประเทศจีน เป็นหลัก ซึ่งในบทนี้จะไม่กล่าวถึงเกรดของเพาเวอร์ซัพ พลายสวิทชิ่งเพราะว่าในปัจจุบันนี้(ปี2020)นั้นมีมาก มายหลายเกรดตามแต่ต้นทุนการผลิด |

สวิทชิ่งจีนที่นำเข้ามาในเมืองไทยเมื่อมีหลากหลาย เกรดก็จะมีการออกแบบที่แตกต่างกันไปเพื่อให้มีความ เหมาะสมกับราคาขายเช่นในราคาที่ถูกๆมักจะนิยมใช เป็นสวิทชิ่งแบบ Flyback Converter ซึ่งจะใช้ IC ในกลุ่ม UC384X เช่น UC3842 เป็นต้น |
ในรุ่นที่เกรดดีๆคุณภาพสูงๆนั้นมักจะใช้เป็นสวิทชิ่ง แบบ Half bridge converter โดยสัญญาณจาก ต้นทางมักจะเป็นแบบ Push - Pull Converter จะใช้ IC FAN4800 ในสวิทชิ่งเกรดดีๆ ส่วนของ เกรดกลางๆมักจะใช้เบอร์ TL494 และ KA7500 |

การโมดิฟลายเพื่อปรับแรงดันสำหรับบทนี้จึงนำเสนอ ในเบอร์ KA7500(ตำแหน่งขาจะคล้ายกับ TL494) แต่ถึงแม้ว่าสวิทชิ่งจีนจะใช้ IC PWM เป้นเบอร์อะไร ก็ตามแต่หลักการในการแก้ไขวงจรเพื่อโมปรับโวลล์ นั้นใช้หลักการเดียวกันทุกๆรุ่น |
ดูตัวอย่างการโมได้จากคลิปด้านล่างนี้
